Comme Des Garçons พาส่องประวัติแบรนด์แฟชั่นสุดล้ำ แบรนด์ที่มีดีไซน์แปลกใหม่ กับเอกลักษณ์โลโก้หัวใจมีตา
Comme Des Garçons สำหรับชื่อแบรนด์นี้ Brand Name ก็ถือว่าอาจจะดูแปลกๆไปสำหรับหลายๆท่าน เพราะอย่างทีjเรารู้แล้ว แบรนด์นี้ได้เป็นสัญชาติญี่ปุ่น แต่กลับมีชื่อแบรนด์ ที่เป็นภาษาฝรั่งเศส ที่จะมีคำแปลว่า “เหมือนเด็กผู้ชาย” โดยมันทำให้มีความแปลกใหม่ของชื่อบแรนด์อย่างมาก และมันได้ทำให้แบรนด์นั้น ดูมีมิติที่เร้นลับ และน่าค้นหาอยู่อย่างต่อเนื่อง และยิ่งทำให้แบรนด์นั้น มีความน่าสงสัย และต้องการคำตอบอย่างมากเสียจริง
ถึงว่ามันก็อาจจะ ไม่ใช่สิ่งที่จะมีสิ่งอะไรซ้อนเร้น หรือจะซ่อนแอบไม่ให้เห็นก็ตามแต่ เพราะมันก็คือสิ่งที่ทำให้ได้เห็น และต้องการที่จะ ได้คำตอบจากมันพอสมควร มันจึงทำให้เราั้น เพิ่มความอยากรู้ อยากเห็น เบื้องหลังมากขึ้น และนี้ก็คือจุดมุ่งหมาย ที่จะทำให้มีความสำคัญ โดยการจะพาย้อนกลับไปที่จุดเริ่มต้น ของแบรนด์ ก่อนที่จะเข้ามารู้จักกับแบรนด์ได้อย่างจริงจัง และต้องบอกเลยว่า เราคงปฎิเสธไปไม่ได้เลยจริงๆ ว่าเราจะไม่อยากรู้จักกับ ความเป็นมาของแบรนด์นี้ไม่ได้เลย
ย้อนรอยแบรนด์ Comme Des Garçons ที่มาก่อนจะมาเป็น แบรนด์เนมระดับโลก
โดยสำหรับ จุดเริ่มต้นของแบรนด์นั้น เราก็จะพาย้อนรอยกลับไปในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ในวันที่ 11 ตุลาคม เมื่อปี 1942 และจุดกำเนิดของแบรนด์มาจาก เด็กสาวที่ชื่อว่า Rei Kawakubo ที่เธอนั้นได้เกิดใน ครอบครัวที่พ่อของเธอนั้น ได้เป็นถึงผู้บริหาร และแม่ของเธอเองก็ได้เป็นอาจารย์ภาษาอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัยเคโอ
ซึ่งมันก็ทำให้เธอนั้น มีกรอบมีระเบียบ ในแบบฉบับของชาวญี่ปุ่นอย่างแท้จริง มันก็ได้ทำให้ตัวเรอิ เองนั้นในสมัยวัยเด็ดของเธอ ก็ค่อนข้างที่จะเข้มงวดตามวัฒนธรรม ของญี่ปุ่นอีกด้วย และมันก็กลับกลายมาเป็น ความพิเศษแบบที่ทำให้ เด็กสาวคนนี้ มีความแตกต่าง จากคนอื่นออกไปอยู่มาก
นั่นก็ความความคิดของเธอเอง ที่ต้องการจะออกจากกรอบ ที่ถูกกำหนดขึ้นมา หรือจะเปรียบเทียบก็คือ เธอนั้นได้มีการ กบฏวัฒนธรรม แต่มันไม่ใช่การต่อต้านที่ สร้างความรุนแรงแต่อย่างใด เพราะเมื่อถึงเวลาช่วงวัยรุ่น อย่างที่เราพอทราบกันดีว่า ว่าช่วงวัยนี้เป้นช่วงวัยที่ จะมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุด
และนั้นก็ทำให้ เธอนั้นมีการผลิกผันชีวิต ของตัวเองได้อย่างสิ้นเชิง ซึ่งตัวเธอนั้นได้ออกจากกฎระเบียบ ที่มีความซ้ำซากจำเจ ได้มาสู่ทางที่ตัวเธอเองต้องการ ซึ่งมันก็ทำให้ จุดนั้นได้เริ่มมีการ ส่งผลต่อเรื่องแฟชั่น ที่ตัวเธอนั้นได้มีการแตกต่าง อย่างการปลดถุงเท้า ให้ย่นกองตรงข้อเท้า แทนที่เธอนั้นจะ ดึงสูงตามเครื่องแบบ ของเหล่านักเรียนญี่ปุ่น ที่เราเคยเห็นกัน
และนี้ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้น ของการที่เธอนั้นสร้างเอกลักษณ์ และคาแรกเตอร์ ในแบบฉบับของเธอได้อย่างสมบูรณ์แบบ และมันก็ได้เป็นไฟที่ส่องทาง ให้ตัวเธอเองก้าวเข้าสู้ วิถีแฟชั่นในแบบฉบับ ของเด็กกบฏชาวญี่ปุ่น นั่นเอง
ความเบื่อหน่ายของเครื่องแบบดั้งเดิม สู่วิถีแห่งแฟชั่น ที่เปลี่ยนเธอไปตลอดกาล
ซึ่งสำหรับจุดดำเนิด ที่ทำให้เธอนั้น เริ่มที่จะก้าวเข้ามาในวงการแฟชั่น นั้นก็คือการที่เธอ มีความสนใจเรื่องของแฟชั่นมากขึ้น ด้วยความที่ตัวเธอเองนั้น มีความเบื่อหน่าย กับเครื่องแบบเดิมๆที่เธอใส่อยู่ประจำทุกวัน ตั้งแต่เด็กจนโต แม้จะผ่านยุคสมัยไปขนาดไหน ก็ยังมีการแต่งกายที่ซ้ำซากจำเจมาเสมอ
มันก็ได้ทำให้ตัวเธอนั้น ได้เข้าเรียนคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเดียวกัน กับพ่อแม่ของเธอ และเมื่อจบการศึกษามา เธอก็ได้มีโอกาสเข้าไปทำงานที่ โฆษณาในองค์กรเกี่ยวกับสิ่งทอแห่งหนึ่ง และตัวเธอนั้นก็มีความพารเพียร ขยันในการเรียนรู้ต่างๆ ซึ่งเธอเองก็ได้มีทักษะ จนได้ออกมาเป็น ฟรีแลนซ์สไตลิสต์
และตัวเธอเองนั้นก็ได้มีการ ขายงานผลงานออกแบบของตัวเอง ภายใต้ชื่อแบรนด์นี้เอง ด้วยวัย 27 ปีโดยเธอนั้นได้ มีการเริ่มต้นที่เมืองโตเกียว และจดทะเบียนตั้งบริษัทในปี 1973 นั่นเอง และหลังจากนั้นก็ได้มีการเปิด บูติกแรกอย่างเป็นทางการที่มินามิ อาโอยามะ ด้วยวัยเพียง 33 ปีเท่านั้น
และ 3ปีต่อมาแบรนด์ของเธอนั้น ก็ได้มีการเติบโต และได้มีการขยายฐานของเสื้อผ้า ไปสู่ผู้ชายโดยได้เปิดไลน์ใหม่ในที่ใช้ชื่อ Homme Comme des Garçonsและได้ก้าวเข้าสู่แบรนด์ดังที่เป็นที่รู้จัก ที่มีความครบในเรื่องการดีไซน์ ทั้งชายและหญิง ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
การก้าวเข้าสู่แบรนด์ระดับโลก กับสาวดีไซเนอร์ญี่ปุ่น
ต้องบอกเลยว่า สำหรับญี่ปุ่นแล้วนั้น ก็อาจจะไม่ใช่โลกที่ กว้างจนใครๆต่างก็รู้จักได้ เพราะการที่แบรนด์นั้น จะก้าวเข้ามาสู่ระดับโลกได้ จะต้องมีการผ่านเวทีแฟชั่น ในภาคพื้นยุโรป และจุดหมายที่ว่านั้น ก็คงหนีไม่พ้นปารีสไปอย่างแน่นอน แต่ทางแบรนด์เรอิพาแบรนด์กอมเดการ์ซอง ของตัวเองไปโชว์ ณ กรุงปารีสในปี 1981
และนั้นมันก็ได้เป็น การเริ่มต้นอันล้มเหลวของเธอ ที่ได้ความขบถ แต่กลับเจอสบดใส่ ซึ่งความแปลกใหม่ นั้นก็ถูกใส่อารมณ์ และถูกวิจารณ์อย่างยับเยิน อยู่พอสมควร บวกทั้งดีไซเนอร์และ ชื่อแบรนด์นั้นก็กำลังเจอ บทพิสูจน์ด่านใหญ่ และได้มีการถูกตีตรา นิยามว่าเป็นแค่ “ดีไซเนอร์ญี่ปุ่นอีกคนหนึ่ง”
นั้นคือการจุดไฟให้ติดอย่างง่าย และเกิดความไม่พอใจอย่างมาก เพราะเธอเองนั้น ก็ได้มองตัวเองว่า เธอมีความแตกต่าง และไม่ควรมาใช้คำพูดเหล่านี้กับเธอ แต่การที่เธอนั้นจะโกรธและด่ากลับไป เธอนั้นได้นำเอา คำพูดเหกล่านั้นมาใช้เป็นแรงผลักดัน เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลง ตัวเธอได้ไปตลอดกาล
ซึ่งสำหรับคำวิจารณ์ ของบางคนนั้นก็อาจจะทำให้ มีการเปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อที่จะได้รับคำชมกลับมา แต่มันไม่ใช้สำหรับเธอ เพราะด้วยตัวแบรนด์เด็กผู้ชายหัวดื้อแบรนด์นี้ เพราะก็ยังมีการออกแบบที่ ทำในรูปแบบคล้ายๆกับสิ่งเดิม ที่จะมีการเปลี่ยนรูปแบบไปมา และเสื้อผ้านั้นก็มีรากฐานของพังก์ และได้มุมมองความทุกข์ทน
ซึ่งมันก็ไม่ได้ สะท้อนออกมา ที่จะเป็นแค่ซิลูเอต หรือว่าเป็นเทคนิคเท่านั้น แต่มันก็ได้ยังมีการรวมถึง การใช้สีดำ ซึ่งคนนั้นก็จะมักจินตนาการได้เสมอ เมื่อหากมีการพูด ถึงกอมเดการ์ซองมันก็ ทำให้เอกลักษณ์ของแบรนด์ มีการถูกตีตราได้ว่าเป็น ขบถที่จะไม่ต่างกับคาแรกเตอร์ ของตัวดีไซเนอร์ ตั้งแต่วัยเด็ก อีกด้วย
เพราะว่าการที่ จะทำเสื้อผ้าในออกมา มีหลากหลายสีสัน สำหรับยุค 70s หรือ 80s มากมายแค่ไหน แต่ตัวของเรดิเองนั้น ก็ไม่ได้มีการสนใจว่าจะต้องทำให้ เสื้อผ้าของเธอนั้น มีสีตามนั้นหรือไม่ ซึ่งเธอนั้นได้มีคำพูดที่ว่า เพราะพวกเขานั้นจะไม่ยอมขายตัวตน เพียงเพราะกระแสกำลังมา แต่กระแสจะต้องวิ่งหากเขาในสักวันหนึ่ง
การดีไซน์ของแบรนด์ ที่ทำให้เป็นเอกลักษณ์ที่น่าจดจำ
ซึ่งสำหรับการดีไซน์นั้น ก็ไม่ใช่ว่าเธอนั้น จะไม่เสื้อผ้าในสีอื่นๆเลย เพียงแต่ว่าเธอนั้นจะให้ สีดำ เป็นตัวแทนและเป็นสินค้าซิกเนเจอร์ของแบรนด์ได้อย่างดีที่สุด และสำหรับการใส่สีสันนั้น ก็อาจจะเป็นเพียงแค่ สินค้าที่มาตามฤดูกาลของมัน แต่หลายๆคนนั้นก็ผ่านจะไม่รู้ว่า ทำไมสิ่งที่เธอไม่ทำให้ดูเป็นเอกลักษณ์ และมีความโดดเด่นอย่างแบรนด์อื่น
และคำตอบของการออกแบบของเธอนั้นก็คือ รูปแบบการออกแบบสุดล้ำในทุกๆ ยุค และในปี 1982 ทางแบรนด์นั้นก้ได้มีการ ปล่อยคอลเล็กชั่นชื่อ “Holes” ที่เสื้อผ้านั้นได้มีรูพรุน และก็ยังคงใช้สีขาวและดำเป็นหลัก แต่พอผ่านมา ช่วงกลางถึงปลายยุค 90s ทางแบรนด์เองก็ได้ มีการจับสีสันมาใช้ให้เข้ากับซิลูเอต ที่แปลกตา
และไม่น่าเชื่อเลยว่า จะทำให้หลายๆคนัน้ นเกิดความสะดุดตาขึ้น และเริ่มที่จะจดจำแบรนด์นี้ได้มากขึ้น นอกจากการใช้สีขาว และสีดำเท่านั้น อย่างตัว คอลเล็กชั่นปี 1997 ในชื่อ “Body Meets Dress, Dress Meets Body” หรือในชื่อที่คนเรียกกันว่า “lumps and bumps” โดยที่คำดูถูก และคำวิจารณ์ ที่เธอได้ในช่วงแรก ได้ทำให้เธอนั้นมีการเปลี่ยนแปลง ใช้เวลาเพื่อที่ จะเครื่องมือพิสูจน์ตัวเอง เกี่ยวกับเสื้อผ้าแนวอวอง-การ์ดของแบรนด์ว่า “นี่ไม่ใช่แค่ชุดแปลกๆ สีดำธรรมดาทั่วไป” นั่นเอง
แหล่งอ้างอิงข้อมูล : www.vogue.co.th
ติดตามเว็บไซต์น่าติดตามเพิ่มเติมได้ที่ >> เว็บดูบอลสดฟรี
แบรนด์อื่นๆ ที่แนะนำ >> Tom Ford