Brand name fashion updates
Brand Name เปิดแบรนด์ที่หลายๆท่านนั้นจะต้องรู้จัก มีติดตัวแล้วปังแน่นอน
Brand name fashion updates
Brand Name เปิดแบรนด์ที่หลายๆท่านนั้นจะต้องรู้จัก มีติดตัวแล้วปังแน่นอน

Patek Philippe พาย้อนดูที่มาที่ไปของแบรนด์ นาฬิกาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก

Patek Philippe

Patek Philippe เปิดประวัติแบรนด์นาฬิกา ที่สาวกจะต้องท่องมนต์แห่งกาลเวลาแน่นอน

Patek Philippe คือ แบรนด์นาฬิกาสุดเก่าแก่ ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นอีกแบรนด์หนึ่ง ที่มีความเก่าแก่มากที่สุดของโลกเลยทีเดียว ซึ่งสำหรับการเรียกชื่อไทยก็คือแบรนด์ ปาเต็ก ฟิลีปป์ โดยสำหรับแบรนด์นาฬิกา ที่มีความเก่าแก่ขนาดนี้แล้วนั้น ก็ได้เป็นเจ้าของถิติการประมูลนาฬิกา ที่ได้มีราคาสูงที่เลยก็ว่าได้ เพราะได้มีการบันทึกใน Guiness Book กันเลยทีเดียว ในเรื่องของความล้ำค่า ความงาม ของนาฬิกา ที่ถือว่าเป็นงานฝีมือ พร้อมทั้งเรื่องราวของแบรนด์นาฬิกา ที่มีความยาวนานมากถึง 181 ปีเลยทีเดียว ซึ่งเราจะมาดูกันว่า อะไรที่ได้เป้นความสุดยอดยของ แบรนด์Patek Philippe  ที่ทำให้แบรนด์นั้นก้าวเข้ามาจนถึง จุดสูงสุดของแบรนด์กัน และการที่ตัวแบรนด์นั่นเป็นเสมือนกับ เอกลักษณ์ของกาลเวลา ที่จะมีผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์แห่งกาลเวลา พร้อมทั้งเอกลักษณ์ที่ทำให้แบรนด์ ได้มาอยู่จนถึงปัจจุบันนี้ได้

Patek Philippe

จุดเริ่มต้นของ Patek Philippe แบรนด์นาฬิกาสุกเก่าแก่

โดยจุดเริ่มต้นของแบรนด์ ได้เริ่มจาก อังตวน นอร์เบิร์ต เดอ ปาเต็ก (Norbert de Patek) ซึ่งเขานั่นเกิดเมื่อปี ค.ศ. 1812 ที่หมู่บ้านเล็กๆ มีชื่อว่า พิลาสกี้ (Pilaski) โดยตัวของ ปาเต็กเองก็เคยเป็น อดีตนายทหารผู้กล้าหาญ และมากความสามารถชาวโปแลนด์ เพราะเขานั้นก็ได้ มีส่วนรวมสำหรับเหตุการณ์สำคัญอย่าง

กบฎโปแลนด์ต่อต้านการปกครองของรัสเซีย ในปี ค.ศ. 1830 ซึ่งหลังจากนั้น เขาก็ได้รวมทหราคนอื่นๆ ที่ได้มีการถูกเนรเทศให้ออกจากโปแลนด์ และได้ไปลงหลักปักฐานที่ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1833 นั่นเอง ซึ่งสำหรับตัวเขานั้นก็ได้มีโอกาส ในการฝึกฝน และมีการพัฒนาความสามารถของตนเอง

Patek Philippe

ในเรื่องของ ดาน้ศิลปัโดยตัวเขา และ อเล็กแซนเดอร์ โคลามี (Alexandre Calame) ศิลปินภูมิสถาปัตยกรรม ได้มีความหลงใหลในศิลปะของปาเต็ก ที่ได้ซื้อนาฬิกาเรือนแรกมา พร้อมทั้งได้ทำการปรับแต่ง ตกแต่งดัดแปลงตัวของนาฬิกาเล็กน้อย และก็ได้มีการขายมันไป ให้กับลูกค้าของเขา

ซึ่งต่อมาไม่นานัก ตัวเขาก็ได้กลายมาเป็นผู้ที่ทำธุรกิจ ในการซื้อขายนาฬิกาให้กับกลุ่มลูกค้า ชาวโปแลนด์ที่ทรงอิทธิพลมากที่สุดในเวลาต่อมา โดยสิ่งนี้ทำให้ตัวเขาเองมีธุรดิจ ที่ดำเนินพร้อมทั้งยังเติบโตอย่างต่อเนื่อง และต่อมาเขาเองก็ได้คำนึงไปถึง การมีหุ้นส่วนเข้ามาร่วมธุรกิจของเขาจึงได้ฟรองซัวส์ ซีซาเป็ค (Franciszek Czapek)  ที่ได้เป็นช่างทำนาฬิกา มากความสามารถในช่วงเวลานั้น เขามาร่วมธุรกิจของเขา

ก้าวแรกของธุรกิจ นาฬิกาที่น่าหลงใหล

ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1839 วันที่ 1 พฤษภาคม ได้มีการเปิดตัวสำหรับธุรกิจ บริษัท “Patek, Czapek & Cie – Fabricants à Genève” ที่ได้มีการ่วมหุ่นกันกับ ปาเต็กและฟรองซัวส์ ซีซาเป็ค ซึ่งในช่วงเริ่มต้นของเขา ก็ยังไม่ได้มีการข้างพนักงานขึ้นมา ต้องบอกเลยว่าได้ถือกำเนิด มาจากพวกเขาเลยทีเดียว

โดยตัวพวกเขาั้นก็ได้มีการ ซื้ออะไหล่ที่เอามาเพื่อทำนาฬิกาเอง จากหลากหลายบริษัท ที่ได้มีความเชี่ยวชาญ และชำนาญเป้นอย่างยิ่ง ในเรื่องของทางด้านกลไกนาฬิกาเอง และได้ส่งการประกอบตัวเรือนโดยช่างผู้ชำนาญ สุดท้ายก็วนกลับมาที่เขานั้นได้เช็คความเรียบร้อยของงาน ก่อนที่จะนำไปจำหน่าย

โดยสำหรับตัวบริษัทนั้น ก็ได้มีการมุ่งเน้นในเรื่องของ การผลิตนาฬิกาคุณภาพสูง ซึ่งมันทำให้มีการผลิตอยู่ที่ ปีละประมาณ 200 เรือน ซึ่งสำหรับธุรกิจของเขา ก็ได้ดำเนินมาถึงเวลา 6 ปี โดยการที่ได้เป็นหุ้นส่วนกัน ระหว่างปาเต็กและซีซาเป็ค ก็ไม่ค่อยมีความราบรื่นเท่าที่ควร

จึงทำให้มีปัญหาภายในเกิดขึ้นเรื่อยๆ เพราะด้วยตัวของซีซาเป็คเองนั้น ไม่ค่อยมีความรับผิดชอบงานของตนเอง อีกทั้งยังแอบหนีงานอยู่บ่อนครั้งเลยทีเดียว ทำให้ปาเต็กเริ่มถอดใจ และพยายามมองหาเพื่อร่วมงานคนใหม่ ที่พึ่งพาอาศัยกันได้มากกว่านี้

Jean-Adrien Philippe

และต่อมาในปี ค.ศ. 1844 เขาก็ได้พบกับ นักประดิษฐ์หนุ่มชาวฝรั่งเศส ที่งาน French Industrial Exposition ชื่อของเขาก็คือ ฌอง-เอเดรียง ฟิลีปป์ (Jean-Adrien Philippe) ที่ได้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของกลไก และระบบต่างๆของนาฬิกาเป็นอย่างดี จึงทำให้ตัวปาเต็กไม่ลังเลเลย ที่จะเลือกเขาเป็นเพื่อนร่วมงานคนใหม่

แต่ทว่าการที่จะล้มเลิกเป้นหุ้นส่วนกับ ซีซาเป็ก อาจจะก่อให้เกิดปัญหาขึ้นมาได้ เพราะมันจะต้องแลกไปกับ ลูกค้าคนปัจจุบันที่อยู่ไม่มากก็นน้อย และร้ายแรงถึงขั้นล้มละลาย แต่ยังไงเขาเองก็ได้ตัดสินใจ ที่จะแยกตัวออกมาเพื่อ สร้างบริษัทใหม่กับ Jean-Adrien Philippe ภายใต้ชื่อ “Patek Philippe & Cie – Fabricants à Genève”

ความสำเร็จอีกหนึ่งขั้น กับการเปลี่ยนแปลงบริษัทใหม่

ต่อมาปี ค.ศ. 1850 ฟิลีปป์ ที่เขามีการเปิดตัว นาฬิกาที่ไม่ต้องใช้กุญแจไขลานเป็นครั้งแรก ซึ่งมันเป็นความสำเร็จอย่างหนึ่ง ที่ได้สร้างชื่อเสียงอย่างมาก เพราะผลงานนี้ได้มาจากอัจฉริยภาพ ทางด้านกลไก ซึ่งสำหรับผลงานชิ้นนั้น ก็ได้สร้างชื่อเสียงให้ แก่บริษัทอย่างมากทีเดียว

ด้วยการที่ได้ทำชิ้นส่วน ของหน้าปัดแรกที่ออกมา มีการประทับตัวอักษร “PP” บนสินค้า เพื่อสร้างการจดจำ และหลังจากนั้นไม่นานมากนัก ก็เหมือนการเปลี่ยนโชคชะตาของตัวได้อย่างมากทีเดียว ซึ่งมันก็คือ การผลิตนาฬิกาถวาย Queen Victoria (พระนางเจ้าวิกตอเรียแห่งอังกฤษ)

Patek Philippe

ที่ได้เป้นนาฬิกาพกพาของผู้หญิง ที่จะมีขนาดเล็ก พร้อมทั้งยังมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง โดยประมาณ 30 มม. พร้อมด้วยกลไก Keyless Steam-winding System และสำหรับตัวนาฬิกานั้น ก็ได้มีระบบไขลาน และตั้งเวลาของนาฬิกาด้วยเม็ดมะยมแทนกุญแจ

เพราะนาฬิกาแบบเดิมนั้น ก็จะต้องใช้กุญแจแกะด้านหลังออก เพื่อที่ทำการตั้งเวลา ทำให้เกิดปัญหาฝุ่นและน้ำเข้านาฬิกาบ่อยครั้ง โดยระบบกลไกของนาฬิกาแบบใหม่  นั้นได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ผลงานของเขาถือว่าได้เป็นต้นแบบ ของกลไกนาฬิกา แทบจะทุกเรือนบนโลกในปัจจุบัน

การเปลี่ยนแปลงสุดยิ่งใหญ่ การก้าวกระโดดของแบรนด์

โดยการเปิดตลาดนั้น ได้เปิดตัวมีอเมริกา บอกเลยว่าสำหรับครั้งนี้เป็นการเดินหมาก ในเรื่องของธุรกิจที่ดีมาก ของ Patek Philippe เพราะทางผู้บริหารบริษัทเครื่องเพชรทิฟฟานี แอนด์ โค (Tiffany & Co) ที่ได้มีชื่อว่า Charles Tiffany (ชาร์ล ทิฟฟานี) ได้มาพบกับ Patek ที่นครนิวยอร์ค เมื่อปี ค.ศ 1851

หลังจากนั้นทั้งคู่ก็ได้มีโอกาส ในการร่วมมือมือกัน กับทางธุรกิจที่ทางทิฟฟานี ที่ได้สั่งทำนาฬิการุ่นพิเศษ จำนวน 150 เรือน ได้มาในชื่อรุ่นNautilus 571 และได้มากลายเป็นลูกค้ารายใหญ่ของ Patek Philippe นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเลยทีเดียว

นาฬิการุ่น Nautilus 571

แต่การที่ตัวของปาเต็ก ที่มีสุขภาพของตัวเองที่ไม่ค่อยแข็งแรงอยู่แล้ว และการที่เขาต้องไปทำการตลาด หลายๆประเทศนั้น มันได้ทำให้สุขภาพของเขาเริ่มไม่ดี ทำให้ปี ค.ศ. 1875 ตัวเขามีโรคโลหิตจาง ที่เขาเผชิญอยู่มีอาการแย่ลงอย่างมาก

จึงทำให้ Cingria, Rouge and Köhn ที่ได้เป็นลูกจ้างทั้ง 3 คนของเขา ได้เข้ามามีบทบาท ในการอัดฉีดเงินทุนของบริษัท และได้กลายเป็นเจ้าของร่วมกันไปโดยปริยาย และต่อมาตัวของปาเต็กเสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ปี ค.ศ. 1877 อายุเพียง 65 ปีเท่านั้น

และต่อในปี ค.ศ. 1891 ฟิลีปป์ ซึ่งในขณะนั้นมีอายุ 76 ปี ซึ่ง2ปีต่อมาก่อนที่เขาจะเสียชีวิต ได้ส่งมอบนาฬิกาที่ได้ ส่งมอบการเป็น ช่างทำนาฬิกาให้กับลูกชายคนเล็กของเขาที่ชื่อ โจเซฟ เอมีล ฟิลีปป์ (Joseph Emile Philippe) ในปีเดียวกันนั้นเอง Köhn ก็ออกจากบริษัทและ Cingria ก็มีการคืนหุ้นของเขาด้วย

แหล่งอ้างอิงข้อมูล : style.katexoxo.com

ติดตามเว็บไซต์น่าติดตามเพิ่มเติมได้ที่ >> เว็บดูบอลสดฟรี

แบรนด์อื่นๆ ที่แนะนำ >> Tiffany & Co.